กลยุทธ์การขอรับรองมาตรฐาน Peer Evaluation จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
รางวัลชมเชย ยุทธศาสตร์ที่ 3 : KR 3.3.3 ปีการศึกษา 2565 กลยุทธ์การขอรับรองมาตรฐาน Peer Evaluation จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ ผู้จัดทำโครงการ อาจารย์นภาพรรณ พงษ์พวงเพชรศูนย์เครื่องมือวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฝ่ายการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ หลักการและเหตุผล หลักการและเหตุผล/ความสำคัญ/ความรู้ที่เป็นประเด็นสำคัญที่นำมาใช้ เพื่อให้เป็นที่ยอมรับจากหน่วยงานในระดับประเทศจาก สํานักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) จึงจําเป็นต้องมีห้องปฏิบัติการที่ได้รับมาตรฐานเป็นที่ยอมรับ อีกทั้งอาจารย์ นักวิจัยและบุคลากรที่เข้ามาใช้บริการของศูนย์เครื่องมือวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสามารถนําข้อมูลของห้องปฏิบัติการนี้ไปดําเนินการเพื่อขอสนับสนุนทุนวิจัยจากสํานักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ได้ ประเภทความรู้และที่มาของความรู้ ประเภทความรู้และที่มาของความรู้ : ความรู้แบบชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) จากการลงมือปฏิบัติจริง ประเภทความรู้และที่มาของความรู้ : ความรู้ที่ฝังลึกอยู่ในตัวคน (Tacit Knowledge) นำประสบการณ์จากการปฏิบัติงานในระบบมาตรฐานอื่นมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับข้อกำหนดตามมาตรฐาน วิธีการดำเนินการ วิธีการดำเนินการ ถ่ายรูปห้องปฏิบัติการก่อนการดำเนินการจัดทำห้องปฏิบัติการปลอดภัย (Lab safety) ทำการประเมินห้องปฏิบัติการในระบบ ESPReL check list ตามข้อกำหนดของสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ ( ESPReL check list จากจำนวนข้อกำหนด 162 […]
กลยุทธ์การขอรับรองมาตรฐาน Peer Evaluation จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ Read More »